อำเภอหล่มสัก ตำบลช้างตะลูด จังหวัดเพชรบูรณ์



ประวัติความเป็นมา
ตำบลช้างตะลูด เป็นตำบลที่แยกออกมาจากตำบลบ้านกลาง เมื่อปี 2530 โดยมีกำนัน คำหล้า กาฬสินธ์ เป็นกำนันปกครอง ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของอำเภอหล่มสัก ระยะห่างจากอำเภอหล่มสัก ประมาณ 37 กิโลเมตร มีเนื้อที่ประมาณ 83,637.50 ไร่ หรือประมาณ 133.82 ตารางกิโลเมตร


ตราสัญลักษณ์

องค์การบริหารส่วนตำบลช้างตะลูด มีช้างเป็นตราสัญลักษณ์




นายกองค์การบริหารส่วนตำบลช้างตะลูด

นายไสว คำพุฒ

พื้นที่
พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูง อาชีพส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรรม

    



เขตพื้นที่
ทิศเหนือ ติดกับ ตำบลบ้านกลาง อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์
ทิศใต้ ติดกับ ตำบลห้วยใหญ่ และ ตำบลบ้านโคก อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์
ทิศตะวันออก ติดกับ พื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว (ทุ่งกะมัง) อำเภอคอนสาร จังหวัดชัยภูมิ
ทิศตะวันตก ติดกับ ตำบลบ้านไร่ อำเภอหล่มสัก และ ตำบลท่าพล อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์



อาชีพ
อาชีพหลัก ทำนา ทำสวน/ทำไร่
อาชีพเสริม ปลูกใบยาสูบ , ปลูกผัก



                                                                 

สาธารณูปโภค
จำนวนครัวเรือนที่มีไฟฟ้าใช้ในเขต อบต. 4,173 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 100.00 จำนวนบ้านที่มีโทรศัพท์ 2 หลังคาเรือน
การเดินทาง
ถนนลาดยางจากอำเภอเมืองถึงตำบลช้างตะลูด ไปอำเภอหล่มสัก 3 เส้นทาง ระยะทางจากอำเภอถึงตำบลช้างตะลูดใกล้สุด 37 กิโลเมตร
สถานที่ท่องเที่ยว
อ่างเก็บน้ำหมู่ที่ 7 บ้านช้างตะลูด
เป็นอ่างเก็บน้ำขนาดเล็กที่เก็บน้ำได้ตลอดทั้งปี มีป่าเขาล้อมรอบอย่างเป็นธรรมชาติ มีตาดหินที่เป็นธรรมชาติ และถ้ำนาคที่สวยงาม สามารถมาเที่ยวได้ตลอดทั้งปี

หน่วยงานราชการ
-           โรงเรียนบ้านช้างตะลูด
-           โรงเรียนบ้านซำภู
-           โรงเรียนบ้านห้วยสวิง
-           โรงเรียนบ้านดงน้ำเดื่อ
-           โรงพยาบาลตำบลช้างตะลูด
-           องค์การบริหารส่วนตำบลช้างลูด
สภาพทางสังคม
1)การศึกษา
 ก.โรงเรียนประถมศึกษา ๑แห่ง ดังนี้
      (1) โรงเรียนห้วยสวิงน้อย หมู่ที่1
  ข. โรงเรียนมัธยมขยายโอกาส ๔แห่ง ดังนี้
       1. โรงเรียนบ้านช้างตะลูด หมู่ที่ ๑๑
        2. โรงเรียนบ้านซําภู หมู่ที่ ๕
        3. โรงเรียนบ้านห้วยสวิงกลาง หมู่ที่ ๖
        4. โรงเรียนบ้านดงน้ําเดื่อ หมู่ที่ ๘
  ค. ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน ๑ แห่ง ดังนี้
         1. ตั้งอยู่ภายในบริเวณสํานักงานองค์การบริหารส่วนตําบลช้างตะลูด
   ง. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จํานวน ๓ แห่ง ดังนี้
         1. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านช้างตะลูด หมู่ที่ ๑๑
         2. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านห้วยสวิงกลาง หมู่ที่ ๖
         3. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านดงน้อย หมู่ที่ ๘



2.)แหล่งความรู้ของชุมชน
    1) การจัดเวทีชาวบ้าน / ผู้นําชุมชน
    2) การฝึกอบรม / การศึกษาดูงานซึ่งหน่วยงานของรัฐ/ เอกชนจัดขึ้น
    3) การเรียนรู้จากกลุ่มอาชีพ / กลุ่มเครือข่ายอาชีพ
    4) หอกระจายข่าวประจําหมู่บ้าน
    5) รายการวิทยุ/ โทรทัศน์
   6) เอกสาร / สิ่งพิมพ์ต่างๆที่ทางหน่วยงานของรัฐ / เอกชนส่งให้หมู่บ้าน
3)สถาบันและองค์กรทางศาสนา
ประชาชนทั้งหมดของตําบลช้างตะลูดนับถือศาสนาพุทธ โดยมีสถาบันและองค์กรทางศาสนา
วัดในพื้นที่มีจํานวน ๔ แห่ง ได้แก่
1. วัดค้องาม ตั้งอยู่ หมู่ที่ ๑ บ้านห้วยสวิงน้อย
2. วัดเทวราชกุญชร ตั้งอยู่ หมู่ที่ ๗ บ้านช้างตะลูด
3. วัดชัยมงคลวนาราม ตั้งอยู่ หมู่ที่ ๑๐ บ้านโปุงมะขามหวาน
4. วัดซําภูวนาราม ตั้งอยู่ หมู่ที่ ๕ บ้านซําภู
สำนักสงฆ์ ๗ แห่ง ได้แก่
1.สํานักสงฆ์หนองเรไร ตั้งอยู่ หมู่ที่ ๓ บ้านวังซอง
2.สํานักสงฆ์ศรัทธาธรรม ตั้งอยู่ หมู่ที่ ๔ บ้านห้วยสวิงเหนือ
3.สํานักสงฆ์สามัคคีธรรม ตั้งอยู่ หมู่ที่ ๖ บ้านห้วยสวิงกลาง
4.สํานักสงฆ์ทุ่งสามัคคีธรรม ตั้งอยู่ หมู่ที่ ๘ บ้านดงน้อย
5.สํานักสงฆ์โนนสว่างศักดาราม ตั้งอยู่ หมู่ที่ ๙ บ้านโนนสว่าง
6.สํานักสงฆ์โนนปูองวนาราม ตั้งอยู่ หมู่ที่ ๑๒ บ้านโนนสวรรค์
7.สํานักสงฆ์สันติเวกวนาราม ตั้งอยู่ หมู่ที่ ๑๓ บ้านโคกประแดงหลวง

4.)สาธารณสุข๒ แห่ง
1.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลช้างตะลูด ตั้งอยู่ หมู่ที่ ๑๑ บ้านช้างตะลูด
2.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลช้างตะลูด สาขาดงน้อยตั้งอยู่ หมู่ที่ ๘ บ้านดงน้อย
    แพทย์ประจําตําบล คือ นางดวงใจ คําเกตุ
    หมอนวดแผนไทย คือ นางสมจิตร คําเกิด
    อาสาสมัครสาธารณสุขตําบลช้างตะลูด (อสม.) 95คนประธานคือ นางเฉลียว หนูจิ๋ว
ศูนย์สาธารณสุขมูลฐาน 1๓ แห่ง ได้แก่
1. ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานหมู่บ้านห้วยสวิงน้อยหมู่ที่ 1
2. ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานหมู่บ้านช้างตะลูด หมู่ที่ 2
3. ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานหมู่บ้านวังซอง หมู่ที่ 3
4. ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานหมู่บ้านห้วยสวิงเหนือ หมู่ที่ 4
5. ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานหมู่บ้านซําภูหมู่ที่ 5
6. ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานหมู่บ้านห้วยสวิงกลาง หมู่ที่ 6
7. ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานหมู่บ้านช้างตะลูด หมู่ที่ 7
8. ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานหมู่บ้านดงน้อย หมู่ที่ 8
9. ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานหมู่บ้านโนนสว่าง หมู่ที่ 9
10. ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานหมู่บ้านโปุงมะขามหวาน หมู่ที่ 10
11. ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานหมู่บ้านช้างตะลูด หมู่ที่ ๑๑
12. ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานหมู่บ้านโนนสวรรค์ หมู่ที่ ๑๒
13. ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานหมู่บ้านโคกประแดงหลวง หมู่ที่ ๑๓
      กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพตําบลช้างตะลูดจํานวน ๒ แห่ง



แผนที่ที่ตั้งและอาณาเขตต าบลช้างตะลูด
ภาพที่ 1 แสดงแผนที่ที่ตั้งและอาณาเขตต าบลช้างตะลูด

ลักษณะภูมิประเทศ
ตําบลช้างตะลูด มีลักษณะภูมิประเทศแบ่งได้ ๓ ลักษณะ
4.1 พื้นที่ราบน้ําท่วมถึง อยู่บริเวณริมแม่น้ําปุาสัก เป็นแอ่งรองรับน้ําที่ไหลมาจาก
พื้นที่ทางทิศตะวันออกของตําบลและน้ําที่ไหลมาจากตอนบนของแม่น้ําปุาสัก น้ําท่วมเป็นประจําทุกปี
ในเขตพื้นที่ของ หมู่ ๑ บ้านห้วยสวิงน้อย หมู่ ๓ บ้านวังซอง และหมู่ ๘ บ้านดงน้อย
4.2 พื้นที่ราบไหล่เขาหรือที่ราบลูกฟูก เป็นที่ราบสลับเนินเขาเล็กๆ และมีลําห้วย
ขนาดเล็กไหลผ่านเป็นพื้นที่บริเวณมากที่สุดของตําบลช้างตะลูด อยู่บริเวณ หมู่ ๔ บ้านห้วยสวิงเหนือ
หมู่ ๖ บ้านห้วยสวิงกลาง หมู่ ๑๐ บ้านโปุงมะขามหวาน หมู่ ๑๒ บ้านห้วยสวรรค์ หมู่ ๑๓ บ้านโคก
ประแดงหลวง และพื้นที่บางส่วนขอ หมู่ ๒,๗ บ้านช้างตะลูด และหมู่ ๙ บ้านโนนสว่าง
4.3 พื้นที่ภูเขาสูงชันในเทือกเขาเพชรบูรณ์ทิศตะวันออก ประกอบด้วยเทือกเขาแป
ปันน้ํา เขาอิทึน เขาน้ําชู เขาทราย เขาช้างตะลูด เขาขุนน้ําพาย เป็นต้นกําเนิดของต้นน้ําลําธารและ
ลําห้วยหลายสาย คือห้วยอิทึน ห้วยโปุงบอน ห้วยสวิง ห้วยช้างตะลูด ห้วยปลักชู ห้วยน้ําพาย และมีที่
ราบเนินเขาเล็กน้อยในบริเวณ หมู่ ๗ บ้านช้างตะลูด และหมู่ ๕ บ้านซําภู

สภาพภูมิอากาศ มี 3 ฤดู คือ
ฤดูฝน จากเดือนพฤษภาคม ถึงเดือนตุลาคม
ฤดูหนาว จากเดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนมกราคม
ฤดูร้อน จากเดือนกุมภาพันธ์ ถึงเดือนเมษายน
ประชากร
จํานวนประชากร(ตามทะเบียนราษฎร์)ทั้งสิ้น ๗,๐๗๙ คน แยกเป็น ชาย ๓,๕๕๒ คน
หญิง ๓,๕๒๗ คน แยกเป็นรายหมู่บ้าน
การโทรคมนาคม
- ที่ทําการไปรษณีย์ประจําตําบล1แห่งหมู่ที่ ๙ (ไปรษณีย์รับอนุญาต)
- มีตู้โทรศัพท์สาธารณะในทุกหมู่บ้าน แต่ยังไม่ทั่วถึง และอยู่ในสภาพทรุดโทรมไม่สามารถใช้
งานได้ ส่วนใหญ่ประชาชนใช้โทรศัพท์มือถือ และโทรศัพท์บ้านในการติดต่อสื่อสาร
ขนบธรรมเนียม ประเพณี และความเชื่อ
1ประเพณีสงกรานต์
2. ประเพณีกวนข้าวทิพย์
3. ประเพณีเลี้ยงศาลเจ้าปูุ
4.ประเพณีบุญเบิกบ้าน
5.ประเพณีลอยกระทง 
6. ประเพณีเลี้ยงปีศาลนอก
7. ประเพณีเลี้ยงปีเจ้าพ่อวังอ่าง
8. ประเพณีงานบุญมหาชาติ
9. ประเพณีงานทําบุญหลวงพ่อใหญ่ตักบาตรร้อยแปด
10. ประเพณีทําบุญเลี้ยงปีเจ้าปูุโปุงตาโปู
11. ประเพณีงานเลี้ยงเจ้าพ่อขุน
โครงสร้างองค์การบริหารส่วนต าบลช้างตะลูด

ร้านอาหาร
1.     ป้า เล็ก   หมู่ที่ 11 ตำบลช้างตะลูด      อาหารตามสั่ง
2.     ร้านลาบ หมู่ที่ 9 ตำบลช้างตะลูด        อาหารอีสาน เช่น ลาบ ฯลฯ



3.     ร้านกาแฟอโมราคอฟฟี่ หมู่ที่ 9 ตำบลช้างตะลูด  อาหารและเครื่องดื่ม







อ้างอิง

แหล่งข้อมูลสินค้าโอทอป(OTOP)ที่ใหญ่ที่สุดและข้อมูลตำบล. (2560). (ออนไลน์).  แหล่งที่มา :
http://www.thaitambon.com/(วันที่สืบค้น 5 กันยายน 2560).
องค์การบริหารส่วนตำบลช้างตะลูด. (2560). (ออนไลน์).  แหล่งที่มา :

http://www.changtalood.go.th/mainpage(วันที่สืบค้น 5 กันยายน 2560).

ความคิดเห็น